วัดดุสิต (ร้าง) - Phra Nakhon Si Ayutthaya District

3.5/5 based on 2 reviews

Contact วัดดุสิต (ร้าง)

Address :

9H2R+CJ3 วัดดุสิต (ร้าง) Phai Ling, Phra Nakhon Si Ayutthaya District, Phra Nakhon Si Ayutthaya 13000, Thailand

Postal code : 13000
Categories :

9H2R+CJ3 วัดดุสิต (ร้าง) Phai Ling, Phra Nakhon Si Ayutthaya District, Phra Nakhon Si Ayutthaya 13000, Thailand
D
DOPPO KAKASHI on Google

ワット・ドゥシット 住宅地に溶け込むように残る修道院の残骸とチェディー跡 崩壊したかつて建物であった素材が散らばっています 比較的大きめの遺物となってはいますが、今となってはそれがどの部分を構成していたかの判断は困難になっています ちらほら洗濯物が見えるように、この遺跡は民家の庭の中にあると言っても過言ではありません いや、順番からすると遺跡を庭にしちゃった住民がいらっしゃったということでしょうね (。-∀-) ま、アユタヤという土地柄 遺跡なんて日常の延長なんでしょう 遺跡の前には小さな神社も建てられました 中華風の装飾である背景には、かつてこの界隈が中国人コミュニティがあったことに由来しています まあ神社建てるくらいだったら、もう少し遺跡側に手を加えた方がいい気がしますが・・
Wat Dusit Monastery wreckage and cheddy ruins that blend into the residential area The materials that used to be a collapsed building are scattered around It's a relatively large relic, but now it's hard to tell which part it made up. It is no exaggeration to say that this ruin is in the garden of a private house so that you can see the laundry here and there. No, from the turn, it seems that there were some residents who turned the ruins into a garden. (.-∀-) Well, the land pattern of Ayutthaya Ruins are an extension of everyday life A small shrine was also built in front of the ruins The background of the Chinese-style decoration comes from the fact that this neighborhood once had a Chinese community. Well, if it's about building a shrine, I think it's better to modify the ruins side a little more ...
ภักดี เลิศรุ่งโรจน์ on Google

วัดดุสิต(วัดร้าง) มีเพียงซากเจดีย์ที่หักพัง​ ตัวอุโบสถอยู่ในบริเวณที่มีชาวบ้านบุกรุกเข้ามาเต็มบริเวณ คงยากที่จะบูรณะ​ให้สำเร็จได้ วัดดุสิต​ ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันออก ฟากคลองกระมังไผ่ลิงฝั่งตะวันออก ซึ่งเป็นคลองที่วางตัวในแนวเหนือใต้ เชื่อมระหว่างคลองบ้านบาตรกับคลองปากข้าวสาร พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาบันทึกไว้ว่า พระนมของสมเด็จพระนารายณ์ ซึ่งเป็นมารดาของเจ้าพระยาโกษาเหล็กและเจ้าพระยาโกษาปาน เสนาบดีคนสำคัญในสมัยนั้น ได้มาสร้างพระตำหนักอยู่ใกล้พระอารามวัดดุสิตแห่งนี้ และต่อมา หลังจากสมเด็จพระเพทราชา ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง เสด็จสวรรคตลงในปี พ.ศ. 2246 กรมพระเทพามาตย์ อัครมเหสี ซึ่งเป็นพระราชมารดาเลี้ยงของสมเด็จพระเจ้าเสือ (พ.ศ. 2246-51) ก็กราบบังคมทูลลาพระเจ้าอยู่หัวองค์ใหม่ มาสร้างพระตำหนักอยู่ใกล้ๆ กับพระตำหนักของพระนม ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าท้ายสระ (พ.ศ. 2251-75) พระองค์เจ้าดำพระราชโอรสของสมเด็จพระเพทราชา ได้กระทำการกระด้างกระเดื่องต่อพระราชอำนาจ จึงมีรับสั่งให้พระอนุชาธิราช (สมเด็จพระเจ้าบรมโกศ) กรมพระราชวังบวรฯ นำไปชำระความ เมื่อเห็นผิดเป็นมหันตโทษจึงโปรดให้นำพระองค์เจ้าดำไปสำเร็จโทษ ณ วัดโคกพระยา ตามราชประเพณี จากนั้นพระองค์เจ้าแก้วซึ่งเป็นบาทบริจาริกาของพระองค์เจ้าดำจึงตัดสินพระทัยเสด็จไปผนวชเป็นรูปชีอยู่กับกรมพระเทพามาตย์ที่พระตำหนักวัดดุสิต เมื่อปี พ.ศ. 2510 อาจารย์ น. ณ ปากน้ำ มาสำรวจที่วัดนี้ พบว่ามีพระพุทธรูปหินทรายขาวเป็นจำนวนมาก รวมถึงกระเบื้องหลังคาชนิดลอนเคลือบสีเหลือง ทำให้ทราบว่า นอกจากวัดบรมพุทธารามในเกาะเมืองซึ่งสถาปนาขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระเพทราชาแล้ว ก็ยังมีวัดดุสิตอีกแห่งหนึ่งที่ใช้กระเบื้องเคลือบสีเหลืองมุงหลังคาด้วยเช่นกัน เป็นไปได้ว่า วัดนี้น่าจะได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ในช่วงนั้น เนื่องจากคงเป็นวัดที่มีความสำคัญเกี่ยวเนื่องกันมาตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์หรือก่อนหน้านั้น จนถึงกษัตริย์ในราชวงศ์บ้านพลูหลวง ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว น่าเสียดายที่ปัจจุบันวัดดุสิตเหลือไว้แต่โคกอิฐซึ่งเป็นส่วนขององค์เจดีย์ที่พังทับถมลงมา มีเศษซากพระพุทธรูปและเสมาที่หักเหลือแค่ครึ่งฐานกองรวมๆ กันอยู่ใต้ต้นไม้ พิจารณาจากลักษณะแล้ว น่าจะเป็นเสมาที่ทำด้วยหินทรายขาว ตรงตามที่อาจารย์ น. ณ ปากน้ำ เคยมาสำรวจพบและให้ทัศนะว่า น่าจะเป็นของที่ทำขึ้นในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง หรือก่อนหน้านั้น ส่วนรอบๆ บริเวณก็มีสภาพไม่ต่างจากวัดร้างทั่วๆ ไปที่เหลือแต่โคก คือถูกรุกล้ำและล้อมรอบไปด้วยบ้านเรือนร้านค้า ข้างๆ เขตโบราณสถาน เป็นถนนเข้าซอยตรงไปบรรจบกับคลองกระมัง ส่วนบริเวณด้านหน้า ริมถนนที่จะไปวัดใหญ่ชัยมงคล เป็นที่ตั้งของศาลเจ้าแม่วัดดุสิต ซึ่งชาวบ้านทั่วไปให้ความเคารพนับถือมาก ศาลนี้แต่เดิมเป็นเพียงศาลเล็กๆ ต่อมาชาวบ้านที่มีจิตศรัทราได้ร่วมกันบริจาคเงินสร้างศาลขึ้นใหม่ แล้วนำศาลเดิมที่อยู่ในสภาพชำรุดทรุดโทรมมาตั้งไว้ภายใน
Wat Dusit (abandoned temple) Only the remains of a ruined pagoda The chapel is in an area full of villagers invading the area. It would be difficult to restore successfully. Wat Dusit is located on the east side. The east side of Klong Kramung Phai Monkey which is a canal that is positioned in the north-south line Connecting between Ban Bat Canal and Pak Khaosan Canal The Ayutthaya Chronicle recorded that King Narai's milk which is the mother of Chao Phraya Kosa Lek and Chao Phraya Kosa Pan important stewards at that time have built a palace near this monastery of Wat Dusit and later, after King Petracha The first king of the Ban Phlu Luang dynasty Died in 1703 B.E. Krom Phra Thephamat, Empress Dowager, who was the stepmother of King Suea (1703-51 B.E.), paid farewell to the new King. to build a palace nearby with the royal palace of Phra Nom In the reign of King Thai Sa (A.D. 2208-75), he was the son of King Petracha. has acted rebelliously against the royal power therefore ordered His Majesty (King Borom Kot), the Department of the Bowon Palace to pay the penalty. When a mistake is severely punished, therefore, please bring Prince Dam to execute his sentence at Khok Phraya Temple according to the royal tradition. Then, Prince Kaew, who was the donor of Chao Dam, decided to go and become a monk with Krom Phra Thephamat at the palace of Wat Dusit. In 1967, Ajarn N. Na Pak Nam came to explore this temple. Found that there are many white sandstone Buddha images. including yellow glazed corrugated roof tiles. There is also another temple of Dusit that uses yellow glazed tiles to cover the roof as well. Because it is probably an important temple that has been connected since the reign of King Narai or before. until the king in the Ban Phlu Luang dynasty As mentioned above Unfortunately, now Dusit Temple is left with only Khok It which is part of the chedi that collapsed. There are fragments of Buddha images and parapets that have been broken, leaving only half of the base of the pile. together under the tree considering the nature It is probably a parapet made of white sandstone. Exactly as Ajarn N. Na Paknam had come to explore and give his view that It is probably something that was made during the reign of King Prasat Thong. or before As for the surrounding area, the condition is not different from other abandoned temples. to leave only the hump is invaded and surrounded by houses and shops beside the ancient site is a road leading into a straight alley that meets with Khlong Kraman front area Along the road to Wat Yai Chaimongkol It is the location of the Shrine of the Goddess of Wat Dusit. which the general villagers have a lot of respect This court was originally just a small court. Later, villagers with faith joined together to donate money to build a new shrine. then bring the old court in a dilapidated condition to set up within

Write some of your reviews for the company วัดดุสิต (ร้าง)

Your reviews will be very helpful to other customers in finding and evaluating information

Rating *
Your review *

(Minimum 30 characters)

Your name *

Nearby places in the field of Buddhist temple,

Nearby places วัดดุสิต (ร้าง)